IQ เป็นสิ่งที่จำเป็นหรือไม่?
อ่านต่อ
บทความฉบับเต็ม →
IQ เป็นสิ่งที่จำเป็นไหม?
คนส่วนใหญ่ใช้ชีวิตโดยที่ไม่ทราบคะแนนการทดสอบไอคิว บางคนก็ประสบความสำเร็จและมีสุขภาพที่ดี สามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุจ ขณะเดียวกันบางคนก็ล้มเหลวและบางคนนั้นก็คิดว่าการทำงานหนักเป็นตัวเลือกที่ถูกต้องและอาจจะโชคดี แต่อันที่จริงนั้น IQ มีเบื้องหลังบทบาทนี้อย่างไรกันนะ?
นี่คือคำตอบที่เราตามหา
IQ และความสุข
จากการสำรวจของนักศึกษาประเทศอังกฤษในปี 2012 พบว่าผู้ที่ทดสอบ IQ จำนวน 7,000 คนนั้นคิดว่าความสุขมีส่วนเกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก คนที่มีสติปัญญาสูงกว่าและมีความสุขมากกว่าเพื่อนร่วมงานที่มี IQ ต่ำกว่า คนที่มี IQ ต่ำกว่านั้นมักจะมีรายได้ที่ต่ำกว่าและมีสุขภาพที่แย่มากกว่า นั่นก็จะทำให้คุณไม่มีความสุขในการทำงาน [1]
คนที่มี IQ มากกว่าจะมีสุขภาพที่ดีมากกว่าและใช้ชีวิตที่ยาวนานขึ้น
การวัดระดับ IQ ที่ได้จากวัยเด็กดูเหมือนจะเป็นค่าบ่งบอกระยะเวลาการใช้ชีวิตที่ยาวขึ้น จากการศึกษามานานตั้งแต่ปี 2001 โดยการเลือกใช้ข้อมูลจากการ สำรวจจิตใจของชาวสก็อต พบว่าคะแนนแบบทดสอบที่เริ่มวัดตั้งแต่อายุ 11 ขวบ จะมีความสัมพัธ์อย่างมากกับระยะเวลาการใช้ชีวิตจนถึงอายุ 76 ปี ทั้งนี้แล้วก็ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ IQ แต่ละคนที่อยู่ระหว่าง 115 จะมีคะแนนเฉลี่ย 21% ที่จะสามารถใช้ชีวิตจนถึงอายุ 76 ปีมากกว่าผู้ที่ได้คะแนนเพียง (100) [2]
การศึกษาข้อมูลของชาวสก็อตในภายหลังนั้นพบว่าการเชื่อมระหว่าง IQ ในวัยเด็กกับการเจ็บป่วยในวัยผู้ใหญ่และการเสียชีวิต ทางสมาคมสามารถเห็นได้อย่างชัดเจนหลังจากพิจารณาปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมต่างๆ อีกด้วย นักวิจัยเชื่อว่านี่ส่งผลเพียงแค่ส่วนน้อย หากคุณมีการดูแลสุขภาพของตนเองและมีทักษะในการแก้ปัญหาที่ดีขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุในกลุ่มผู้ที่มี IQ ระดับสูง [3]
IQ เป็นสิ่งจำเป็นหรือไม่?
การวิเคราะห์ขนาดเล็กสามารถยืนยันจากผลลัพธ์ข้างต้นในปี 2010 [4] ผลการวิจัยระบุว่าข้อได้เปรียบ 1 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (15 คะแนน) จากคะแนนการทดสอบที่คะแนนความเสี่ยต่ำกว่า 24% ของการเสียชีวิตระหว่างการติดตามผล 17-69 ปี
IQ ที่สูงขึ้นจะเกี่ยวข้องกับโรงเรียน ประสิทธิภาพการทำงานและอัตรารายได้ที่มากขึ้นหรือเปล่า?
ความฉลาดทั่วไปนั้นมักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรียนที่ดีมากขึ้นในโรงเรียนหลากหลายวิชาเช่น วิชาเลข, วิชาฟิสิกข์ และภาษาอื่นๆ [5] คนที่มี IQ ที่สูงกว่านั้นจะสามารถทดแบบทดสอบได้ดีมากขึ้นและระดับรายได้ที่มากขึ้น [6]
คนที่มี IQ ที่สูงมากอาจจะมีความผิดปกติแซกซ้อน
คนที่มี IQ สูงนั้นอาจจะมีความผิดปกติและการควบคุมทางอารมณ์ จากการวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้พบว่าการตอบสนองทางอารมณ์อย่างรุนแรก ซึ่งสภาพแวดล้อมอาจจะทำให้คุณเป็นคนที่ขี้กังวลและหวาดระแวงไปได้ ทั้งสองอย่างนี้จะเชื่อมโยงกับสติปัญญาระดับสูง บางครั้งคุณอาจจะมีอาการซึมเศร้าและมีความวิตกกังวลได้เช่นกัน [7]
การทดสอบ IQ ของเด็กนั้นพบว่า เด็กที่มีพรสวรรค์นั้นมักจะมีอาการของโรคภูมิแพ้หรือโรคหอบหืด ซึ่งนี่ก็เป็นที่รู้จักกันมาอย่างยาวนานมาก [8] เช่นเดียวกับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษจะได้รับผลกระทบต่อโรคภูมิแพ้แบบอื่นเช่นกัน [9]
โรคออทิสติก (ASD) เป็นรูปแบบที่เชื่อมโยงกันระหว่างคะแนน IQ ที่สูงและการทำงานของสมองที่ดีขึ้น ความสัมพันธ์ของทั้งสองนี้ได้รับการยืนยันจากการศึกษาในปี 2015 [10] จากการศึกษานั้นพบว่าความโรคออทิสติกมีความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดรูปแบบเฉพาะของแต่ละคน: ความจำแบบสมเหตุสมผล,ความคล่องแคล่วในการพูดคุยและความสามารถในการจดจำคำศัพท์
คุณมีความฉลาดแค่ไหนกัน?
คุณเคยส่งใสคะแนน IQ ของคุณกันหรือเปล่า? ตรวจสอบโดยไม่ระบุชื่อโดยคลิกที่ลิงค์ด้านล่าง!
ตรวจสอบ IQ ของคุณโดยที่ไม่ต้องระบุชื่อ
แบบทดสอบ IQ ของจริง
สำหรับผู้ใช้งานจริง →
อ้างอิง:
[1] Ali, A., et al. “The Relationship between Happiness and Intelligent Quotient: the Contribution of Socio-Economic and Clinical Factors.” Psychological Medicine, vol. 43, no. 06, 2012, pp. 1303–1312., doi:10.1017/s0033291712002139. https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/22998852
[2] Whalley, L. J. “Longitudinal Cohort Study of Childhood IQ and Survival up to Age 76.” Bmj, vol. 322, no. 7290, 2001, pp. 819–819., doi:10.1136/bmj.322.7290.819. https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC30556/
[3] Gottfredson, Linda S., and Ian J. Deary. “Intelligence Predicts Health and Longevity, but Why?” Current Directions in Psychological Science, vol. 13, no. 1, 2004, pp. 1–4., doi:10.1111/j.0963-7214.2004.01301001.x. https://journals.sagepub.com/doi/10.1111/j.0963-7214.2004.01301001.x
[4] Calvin, C. M., et al. “Intelligence in Youth and All-Cause-Mortality: Systematic Review with Meta-Analysis.” International Journal of Epidemiology, vol. 40, no. 3, 2010, pp. 626–644., doi:10.1093/ije/dyq190.
[5] Deary, Ian J., et al. “Intelligence and Educational Achievement.” Intelligence, vol. 35, no. 1, 2007, pp. 13–21., doi:10.1016/j.intell.2006.02.001. https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0160289606000171?via%3Dihub
[6] Bergman, Lars R., et al. “High IQ in Early Adolescence and Career Success in Adulthood: Findings from a Swedish Longitudinal Study.” Research in Human Development, vol. 11, no. 3, 2014, pp. 165–185., doi:10.1080/15427609.2014.936261.
[7] Penney, Alexander M., et al. “Intelligence and Emotional Disorders: Is the Worrying and Ruminating Mind a More Intelligent Mind?” Personality and Individual Differences, vol. 74, 2015, pp. 90–93., doi:10.1016/j.paid.2014.10.005. https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0191886914005558?via%3Dihub
[8] Hildreth, Eugene A. “Some Common Allergic Emergencies.” Medical Clinics of North America, vol. 50, no. 5, 1966, pp. 1313–1324., doi:10.1016/s0025-7125(16)33127-3.
[9] Benbow, Camilla Persson. “Intellectually Gifted Students Also Suffer from Immune Disorders.” Behavioral and Brain Sciences, vol. 8, no. 03, 1985, p. 442., doi:10.1017/s0140525x00001059.
[10] Clarke, T-K, et al. “Common Polygenic Risk for Autism Spectrum Disorder (ASD) Is Associated with Cognitive Ability in the General Population.” Molecular Psychiatry, vol. 21, no. 3, 2015, pp. 419–425., doi:10.1038/mp.2015.12. https://www.nature.com/articles/mp201512